⇒ การจัดองค์ความรู้ KM

ความหมายของ "การจัดการความรู้"  (Knowledge Management : KM)
   การจัดการความรู้ หรือ KM ซึ่งย่อมาจากคำว่า "Knowledge Management" คือ การรวบรวมองค์ความรุ้ที่มีอยู่ใน      องค์กรซึ่งจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือเอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพื่อให้ทุกคนในองค์กรสามารถเข้าถึงความรู้และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ นำความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุด (อ้างอิงจาก สำนักงาน ก.พ.ร)

   KM ไม่ใช่เป้าหมาย แต่เป็นเครื่องมือ ที่จะช่วยให้มีการสร้าง รวบรวม จัดระบบ เผยแพร่ ถ่ายโอนความรู้ที่เป็นประโยชน์เพื่อให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่างๆ ได้ทันเวลา และทันเหตุการณ์ จะส่งผลให้การปฏิบัติงานของคนในองค์กรมีคุณภาพ และมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะทำให้องค์กรบรรลุเป้าหมายตามวิสัยทัศน์ พันธกิจขององค์กร และเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ (Learning Organization )
 
ความหมายและรูปแบบของความรู้
 
    ความรู้ คือ สิ่งที่สั่งสมมาจากการศึกษา เล่าเรียน การค้นคว้า หรือประสบการณ์ รวมทั้งความสามารถเชิงปฏิบัติและทักษะความเข้าใจ หรือ สารสนเทศที่ได้รับมาจากประสบการณ์ สิ่งที่ได้รับมาจากการได้ยิน ได้ฟัง การคิด หรือ การปฏิบัติ องค์วิชาในแต่ละสาขา

รูปแบบของความรู้ มี 2 ประเภท คือ
 
    1. ความรู้ที่ชัดแจ้ง (Explicit Knowledge) เป็นความรู้ที่สามารถรวบรวม ถ่ายทอดได้ โดยผ่านวิธีการต่าง ๆ เช่น การบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ทฤษฎี คู่มือต่าง ๆ เอกสาร กฏระเบียบ วิธีการปฏิบัติงาน สื่อต่างๆ เช่น VCD DVD Internet เทป เป็นต้น และบางครั้งเรียกว่า ความรู้แบบรูปธรรม
 
    2. ความรู้ที่ฝังอยู่ในตัวคน (Tacit Knowledge) เป็นความรู้ที่ได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของแต่ละบุคคลในการทำความเข้าใจในสิ่งต่าง ๆ เป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคำพูด หรือลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะในการทำงาน งานฝีมือ ประสบการณ์ แนวความคิด บางครั้งจึงเรียกว่า ความรู้แบบนามธรรม

ขอบเขต KM (KM Focus Area) ที่สนับสนุนประเด็นยุทธศาสตร์
1) จำแนกความรู้ที่จำเป็นต่อการผลักดัน ความสำเร็จในงานประจำหรือยุทธศาสตร์
ประมวลจริยธรรมของข้าราชการ ลูกจ้างประจำและพนักงานจ้าง ขององค์การบริหารส่วนตาบลปากกราน
แผนเสริมสร้างมาตรฐาน วินัย คุณธรรม จริยธรรมและป้องกันการทุจริต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564

ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจ่ายเงินสงเคราะห์เพื่อการยังชีพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2552
ระเบียบคณะกรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ พ.ศ. 2552
ระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยหลักเกณฑ์การจ่ายเงินเบี้ยความพิการให้คนพิการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2553

หนังสือ มท 0891.3/ว 118 ลงวันที่ 15 มกราคม 2556 เรื่อง ซักซ้อมแนวทางการปฏิบัติในการจ่ายเงิน
หนังสือ มท 0891.3/03962 ลว 11 มีนาคม 2559 เรื่อง การตรวจสอบการดำเนินงานโครงการสร้างหลักประกันด้าน รายได้แก่ผู้สูงอายุ
ข้อบกพร่องเบิกจ่ายเบี้ยยังชีพ
คัมภีร์เบี้ยยังชีพ ผู้สูงอายุ ผู้พิการ ผู้ป่วยเอดส
2) ส่งเสริมการนำกระบวนการจัดการความรู้มาใช้พัฒนาบุคคลากร และให้เป็นส่วนหนึ่งของการปฏิบัติงาน

3) เสริมสร้างบรรยากาศให้เอื้อต่อการนำการจัดการความรู้มาเป็นเครื่องมือในการพัฒนาบุคลากรและพัฒนางานของหน่วยงานต่าง ๆ ภายในองค์การบริหารส่วนตำบล 

KM สาระน่ารู้

  ภาษิต คําคม KM
การจัดการองค์ความรู้ (Knowledge Management: KM)
การจัดการความรู้คืออะไร ?
ประโยชน์ของการจัดการองค์ความรู้
ทําไมต้อง "จัดการความรู้" ในองค์กร
มองโลกในแง่ดี กายสดใส ใจเป็นสุข

จิตวิทยาของความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงาน : พัฒนาการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น
หลักธรรมในการครองตน ครองคน และครองงาน
   กฎหมายท้องถิ่น

มุมสรุปรายงานผลการฝึกอบรม
รายงานผลการฝึกอบรมของนักวิชาการตรวจสอบภายใน
        รายงานผลการฝึกอบรมของรองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล หลักสูตร การจัดทำงบประมาณ ปี 2566
รายงานผลการฝึกอบรมของ รองปลัด ฯ หัวหน้าสำนักปลัด และนักวิเคราะห์ ฯ หลักสูตร ซักซ้อมการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปี 2566 ของ อปท. ภายใต้รูปแบบการจำแนก แผนงาน/งาน/งบรายจ่าย/ประเภทรายจ่าย(ฉบับใหม่) และการเตรียมความพร้อม อปท. เป็นหน่วยรับงบประมาณโดยตรงกับทางสำนักงบประมาณ

ระบบสารสนเทศสนับสนุนการบริหารจัดการ
→ ข้อมูลด้าน competency ของทุกตำแหน่ง

       ⇒ นักบริหารงานท้องถิ่น (ต้น-สูง)

       ⇒ นักบริหารงานทั่วไป (ต้น-สูง)

       ⇒ นักบริหารงานการคลัง (ต้น-สูง)

       ⇒ นักบริหารงานช่าง (ต้น-สูง)

       ⇒ นักจัดการงานทั่วไป (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ นักทรัพยากรบุคคล (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ นักวิเคราะห์นโยายบและแผน (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ นักวิชาการเงินและบัญชี (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ นักพัฒนาชุมชน (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ นักวิชาการศึกษา (ปฏิบัติการ-เชี่ยวชาญ)

       ⇒ เจ้าพนักงานธุรการ (ปฏิบัติงาน-อาวุโส)

       ⇒ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปฏิบัติงาน-อาวุโส)

       ⇒ เจ้าพนักงานพัสดุ (ปฏิบัติงาน-อาวุโส)

       ⇒ เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้ (ปฏิบัติการ-อาวุโส)

       ⇒ นายช่างโยธา (ปฏิบัติงาน-อาวุโส)

       ⇒ เจ้าพนักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปฏิบัติงาน-อาวุโส)

กฎหมายน่ารู้

   พระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิ่น พ.ศ. 2542

   พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537และที่แก้ไขเพิ่มเติม

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2538

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2542

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2546

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2546

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2552

        พระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562

  พระราชบัญญัติระเบียบบริหารงานบุคคลท้องถิ่น  พ.ศ. 2542

  พระราชกฤษฎีการ ว่าด้วยหลักเกณฑ์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546

  พระราชบัญญัติการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ  พ.ศ. 2560

  พระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหารท้องถิ่น พ.ศ. 2562

  พระราชบัญญัติที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง  พ.ศ. 2562

 

        

 

 

  • กิจกรรม KM ขององค์การบริหารส่วนตำบลปากกราน

    ชี้แจงให้ความรู้การบริการประชาชนภายใต้สถานการณ์ โควิด (COVID-19)
  • กิจกรรม KM ขององค์การบริหารส่วนตำบลปากกราน

    ให้ความรู้เรื่องการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น และรายงานการปฏิบัติงาน
  • การจัดทำ KM ขององค์การบริหารส่วนตำบลปากกราน

    ชี้แจงการจัดทำแบบประเมินการปฏิบัติราชการประจำปี
Visitors: 96,083